4 กลุ่มผู้ป่ วยห้ ามกินฟ้าทะลา ยโจ ร
4 กลุ่มผู้ป่ วยห้ ามกินฟ้าทะลา ยโจ ร
โรงพย าบาลหน องคาย ระบุ 4 กลุ่มผู้ป่ วยที่ไม่ควรกินฟ้าทะลายโ จรเพื่อรักษาอาการเจ็ บคอ
นศภ.อมรรัตน์ โคตรปัญญา, นศภ.สุรัชฎา ธุระแสง และ ภญ.สุพัตรา แข็งกลาง กลุ่มงานเภสัชกรร ม โรงพย าบาลหน อง คาย ระบุว่า การศึกษาประสิทธิผลของย าแคปซูลฟ้าทะลายโ จร (เตรียมโดย กรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ และควบคุมคุณภาพให้มีปริมาณ total lactone คำนวณเป็น andorgrapholideไม่น้อยกว่า 6%) ในการบรรเทาอาการไ ข้เ จ็บคอ (pharyngotonsillitis) แบบ double-blind, randomized trial ในผู้ป่ว ยจำนวน 152 คน ที่เป็นไข้และเจ็ บคอ มารับการรักษาที่โรงพย าบาลชุมชน 6 แห่ง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
-กลุ่มรับประทานย าพาราเซตามอล
-กลุ่มรับประทานฟ้าทะลา ยโจ ร ขนาด 3 กรัม/วัน
-กลุ่มรับประทานฟ้าทะล ายโจร ขนาด 6 กรัม/วัน (ครั้งละ 1.5 กรัม วันละ 4 ครั้ง)
โดยทำการทดลองนาน 7 วัน พบว่า ในวันที่ 3 ของการรักษาผู้ ป่ว ยกลุ่มที่ได้รับพาราเซตามอล หรือแคปซูลฟ้าทะลายโจ ร ขนาด 6 กรัม/วัน อาการไข้ และอาการเ จ็บคอหายไปมากกว่ากลุ่มที่ได้รับฟ้าทะลา ยโจ ร ขนาด 3 กรัม/ วัน แต่ผลการรักษาไ ม่แ ตกต่า งกันในวันที่ 7 ของการรักษา
นอกจากนี้ ผลข้างเคียงทั้ง 3 กลุ่มไ ม่แต กต่างกัน พบประมาณ 20% ของผู้ป่ว ยแต่ละกลุ่ม อาการที่พบคือ คลื่นไ ส้ อาเจีย น รู้สึกไม่สบายท้อง และไม่สบายตัว เวียนศีรษะ ง่วงนอน อ่อนเพลีย
อย่างไรก็ตาม ฟ้าทะลายโ จรมีข้อจำกัดในการใช้ ในกลุ่มผู้ป่ว ยบางกลุ่ม ไม่แนะนำให้ใช้ย าฟ้าทะลายโ จรในการรักษาอาการเจ็ บคอ
ห้ ามใช้ฟ้าทะลายโจ รสำหรับแ ก้เจ็ บคอในกรณีต่างๆ ต่อไปนี้
-ผู้ป่ว ยที่มีอาการเ จ็บคอเนื่องจากติดเชื้ อ Streptococcus group A
-ผู้ป่ว ยที่มีประวัติเป็นโร คไ ต อักเ สบ เนื่องจากเคยติดเชื้ อ Streptococcus group A
-ผู้ป่ วยที่มีประวัติเป็นโร คหัวใ จรูห์มาติค
-ผู้ป่ว ยที่มีอาการเจ็ บคอเนื่องจากมีการติดเชื้ อแบ คทีเรี ย และมีอาการรุนแร ง เช่น มีตุ่มหน องในคอ มีไข้สูง และหนาวสั่น
ข้อบ่งใช้ของย าฟ้าทะลายโจ ร ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ
-บรรเทาอาการท้องเสี ยชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเ ชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลื อดปน
-บรรเทาอาการเจ็ บคอ
-บรรเทาอาการของโร คหวัด (common cold) เช่น เจ็ บคอ ปว ดเมื่อยกล้ามเ นื้อ
ขนาดและวิธีใช้ย าฟ้าทะลา ยโจ ร
บรรเทาอาการห้องเสี ย
รับประทานครั้งละ 5๐๐ mg-2 g หรือ 2-8 capsule วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
บรรเทาอาการหวัด เจ็ บคอ
รับประทานครั้งละ 1.5-3 g วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ข้อควรระวั งในการกินย าฟ้าทะล ายโจ ร
ห้า มใช้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้น มบุตร เนื่องจากอาจทำให้เกิดทารกวิรูป (พิก าร) ได้
การรับประทานย าฟ้าทะลายโจ ร อาจทำให้เกิดอาการผิ ดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปว ดท้อง ท้องเดิน คลื่นไ ส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิ ษได้
หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง
หากใช้ฟ้าทะลายโจ รติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือมีอาการรุนแ รงขึ้นระหว่างใช้ย า ควรหยุดใช้และพบแพทย์
ควรระวั งการใช้ร่วมกับสา รกันเลือ ดเป็นลิ่ ม (anticoagulants) และย าต้า นการจับตัว ของเกล็ดเ ลือด (antiplatelets)
ควรระวั งการใช้ร่วมกับย าลดความดันโลหิ ตเพราะอาจเสริมฤท ธิ์กันได้
ควรระวั ง การใช้ร่วมกับย าที่กระบวนการเมแทบอลซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP) เนื่องจากฟ้าทะลายโจ รมีฤท ธิ์ยับยั้งเอนไซม์ CYP1A2, CYP2C9 และ CYP3A4
ขอบคุณข้อมูล :นศภ.อมรรัตน์ โคตรปัญญา, นศภ.สุรัชฎา ธุระแสง และ ภญ.สุพัตรา แข็งกลาง กลุ่มงานเภสัชกร รม โรงพย าบาลหนอ งคาย,กระทรวงสาธารณสุข. ขอความร่วมมือสั่งใช้ย าพัฒนาจากสมุนไพรเป็นลำดับแรก (First Line Drug) [บันทึกข้อความ]. 13 กันย ายน 2559.,Thamlikitkul V, Dechatiwongse T, Theerapong S, et al. Efficacy of AndrographispaniculataNees for pharyngotonsillitis in adults. J Med Assoc Thai 1991;74(10):437-42