ดื่มน้ำขวดในรถที่จอดทิ้งไว้กลางแดด เ สี่ยงเป็นมะเร็ งไหม

ดื่มน้ำขวดในรถที่จอดทิ้งไว้กลางแดด เ สี่ยงเป็นมะเร็ งไหม

หลายคนมีความเ ชื่อว่าการทิ้งขวดน้ำไว้ในรถที่จอดกลางแดด จะส่งผลให้น้ำในขวดมีการปนเปื้อนของส ารก่อมะเ ร็ง อันเป็นผลจากการที่พลาสติกได้รับความร้อนเป็นระยะเวลานานๆ จึงไม่ควรดื่มน้ำจากขวดเด็ดขาด แต่ความจริงแล้วเป็นเช่นนั้นจริงหรือไม่?

อ้างอิงจากกรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ที่เคยออกมายืนยันว่า ไม่เคยมีรายงานการตรวจพบ “ส ารไดออกซิน” ซึ่งเป็นสา รก่อมะเร็ งในขวดพลาสติกบรรจุน้ำดื่ม

แม้แต่การนำขวดน้ำไปทิ้งไว้ในรถที่จอดกลางแดด ก็ไม่พบส ารพิ ษเช่นเดียวกัน โดยความเชื่ อที่ว่าส ารไดออกซินละลายออกมาจากขวดบรรจุน้ำดื่มเมื่อวางไว้ในที่ร้อนๆ เช่น ภายในรถยนต์ ฯลฯ เป็นเหมือนเรื่องเล่าที่มีการแผยแพ ร่ต่อกันมาโดยปราศจากข้อมูลที่แน่ชัด

ในความเป็นจริงนั้น จากที่มีการสืบค้นข้อมูลทางวิชาการที่มีการศึกษาวิจัยสรุปได้ว่า ไม่เคยมีรายงานการตรวจพบไดออกซินในพลาสติก รวมถึงสา รเ คมีต่างๆ ที่มีการกล่าวอ้างว่าละลายออกมาจากขวดพลาสติก ทั้งในสภาวะอุณหภูมิสูงหรือสภาวะแช่แข็ง แล้วทำปฏิกิริย าเกิดเป็นส ารไดออกซินนั้นไม่มีหลักฐานทางวิทย าศาสตร์ว่าเกิดขึ้นได้

นอกจากนี้ สำนักคุณภาพและความปลอดภั ยอาหาร กรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ ยังเคยทำการทดลองโดยนำตัวอย่างน้ำดื่มที่บรรจุในขวดพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีน (PE) พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต พอลิพรอพิลีน (PET) พอลิคาร์บอเนต (PC) และพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) ที่จำหน่ายในตลาดสดและซุปเปอร์มาร์เก็ตจำนวน 18 ยี่ห้อ และนำไปวางในรถที่จอดกลางแดดเป็นเวลา 1 วัน และ 7 วัน

จากนั้นตรวจวิเค ราะห์สา รประกอบกลุ่มไดออกซิน จำนวน 17 ตัว และพีซีบี จำนวน 18 ตัว ผลการวิเคร าะห์สรุปว่า ตรวจไม่พบ สา รประกอบกลุ่มไดออกซินและพีซีบีในทุกตัวอย่าง

ดังนั้น การดื่มน้ำจากขวดพลาสติกที่ทิ้งไว้ในรถจึงไม่ทำให้ก่อมะเร็ งแต่อย่างใด

ใส่ความเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า