เห็ดพิ ษ เผลอกินถึงขั้นเสียชีวิ ต

เห็ดพิ ษ เผลอกินถึงขั้นเสียชีวิ ต

กรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้เปิดเผยข้อมูลล่าสุดวันนี้ (14 ก.ค.) ว่า เฉพาะช่วงเดือนมกราคม ถึงมิถุนายน ที่ผ่านมา มีผู้ป่ ว ยที่ได้รับพิ ษจากเห็ดพิ ษที่มาจากป่าธรรมชาติมากถึง 275 ราย จังหวัดอุบลราชธานีพบผู้ป่ ว ยสะสมสูงสุด โดยจังหวัดที่มีการส่งเห็ดพิ ษให้กรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ตรวจ มาจากจังหวัดบุรีรัมย์ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ อุดรธานี ระยอง และตรัง เห็ดหมวกจีน เห็ดคันร่มพิ ษ เห็ดก้อนฝุ่น และเห็ดระงาก

หลายคนเจอเห็ดพิ ษเหล่านี้ และคิดว่ารับประทานได้ เพราะมีลักษณะรูปร่ า งหน้าตาหรือเรียกว่าลักษณะทางสัณฐานวิทย าคล้ายกับเห็ดกินได้ เช่น เห็ดหมวกจีนและเห็ดคันร่มพิ ษ คล้ายกับเห็ดปลวก (เห็ดโคน) เห็ดระงากพิ ษคล้ายกับเห็ดระโงกขาว และเห็ดก้อนฝุ่นคล้ายกับเห็ดเผาะ

ดั งนั้uหากใครเจอเห็ดแล้วไม่แน่ใจว่าเป็นเห็ดพิ ษหรือไม่ มีคำแนะนำจากนายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ ว่าให้ลองใช้แอปพลิเคชันที่ชื่อว่า “คัดแยกเห็ดไทย” ที่กรมวิทย าศาสตร์การแพทย์ได้จัดทำฐานข้อมูลภาพถ่ายเพื่อใช้ตรวจสอบเห็ดมีพิ ษและเห็ดที่รับประทานได้ในประเทศไทย ได้แก่ กลุ่มเห็ดระงากพิ ษ กลุ่มเห็ดหมวกจีน เห็ดคันร่มพิ ษ เห็ดหัวกรวดครีบเขียวพิ ษ เห็ดถ่านเ ลื อ ด เป็นต้น โดยแอปฯ นี้สามารถดาวน์โหลดได้จาก Play Store ค้นหาคำว่า “คัดแยกเห็ดไทย” เพื่อตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นได้

สำหรับอาการหลังรับประทานเห็ดพิ ษ แต่ละชนิดมีอาการแตกต่างกัน ดังนี้

เห็ดหัวกรวดครีบเขียว ภายใน 15 นาทีถึง 4 ชั่ วโมง ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เป็นตะคริวที่ท้อง ท้องเสีย

เห็ดถ่านเ ลื อ ด ภายใน 2 ชั่ วโมง ระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร หลังจาก 6 ชั่ วโมง มีอาการเจ็ บกล้ามเนื้อ ตับและไตวายและอาจเสียชีวิ ต

เห็ดระโงกหินและเห็ดระโงกดำพิ ษ ภายใน 6-24 ชั่ วโมง มีอาการท้องร่วง เป็นตะคริวที่ท้อง คลื่นไส้ อาเจียน แสดงอาการประมาณ 1 วัน หลังจากนั้นมีอาการตับและไตวายและอาจเสียชีวิ ต

เห็ดหมวกจีน ภายใน 30 นาทีถึง 2 ชั่ วโมง มีอาการเหงื่อออกมาก น้ำตาไหล น้ำลายไหล ผู้ป่ ว ยที่มีอาการรุ นแร งชีพจรเต้นช้า และอาจทำให้เสียชีวิ ตได้ภายในครึ่งชั่ วโมง

แต่หากใครรับประทานเห็ดพิ ษ มีวิธีปฐมพย าบาลเบื้องต้น ดังนี้
1. ดื่มน้ำอุ่นผสมเกลือ (เกลือ 3 ช้อนชาต่อน้ำอุ่น 1 แก้ว)
2. ล้วงคอให้อาเจียน เพื่อลดการดูดซึมของสารพิ ษ
3. กินผงถ่าน (activated charcoal) โดยบดละเอียด 2 ถึง 3 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 1 แก้ว ผสมกับน้ำให้ข้นเหลว เพื่อดูดสารพิ ษของเห็ดในทางเดินอาหาร
4. ไปโรงพย าบาล พร้อมกับนำเห็ดที่เหลือจากกินไปด้วย เพื่อให้แพทย์ใช้ประกอบการวินิจฉัย รั กษ าอาการ และส่งตรวจสอบชนิดของเห็ดพิ ษทางห้องปฏิบัติการ

นายแพทย์โอภาส ย้ำว่าการรับประทานเห็ดไม่ควรรับประทานเห็ดที่ไม่รู้จัก และที่สำคัญไม่รับประทานเห็ดกับสุรา หากมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หรืออาการทางระบบประสาทให้หยุดรับประทาน และไปโรงพย าบาลทันที

แหล่งข้อมูล thairath

ใส่ความเห็น

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า